ความพึงพอใจการให้บริการตามภารกิจ

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567


ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาได้ให้ความสําคัญต่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนา การบริการ โดยดําเนินการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการเพื่อนําผลการประเมินมาปรับปรุง พัฒนา ภารกิจในด้านต่างๆ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ได้มีการปรับปรุงระบบการประเมินความพึงพอใจเพื่อให้ ครอบคลุมการประเมินการให้บริการในภารกิจทุกด้าน ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาได้ประเมิน ความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อบริการด้านต่างๆ โดยใช้แบบประเมินออนไลน์ที่พัฒนาขึ้น https://ceit.sut.ac.th/questionnaire/qn/

ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อบริการของศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่
1) ด้านการให้บริการของเจ้าหน้าที่
2) ด้านขั้นตอนของการให้บริการ
3) ด้านความตรงต่อเวลาในการให้บริการ และ
4) ด้านคุณภาพการให้บริการและผลงาน
จากจํานวนผู้ตอบแบบประเมินทั้งสิ้น 304 คน ผู้รับบริการมีความพึงพอใจเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด 

ด้านการให้บริการของเจ้าหน้าที่
ด้านขั้นตอนของการให้บริการ
ด้านความตรงต่อเวลาในการให้บริการ
ด้านคุณภาพการให้บริการและผลงาน

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาได้ให้ความสําคัญต่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนา การบริการ โดยดําเนินการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการเพื่อนําผลการประเมินมาปรับปรุง พัฒนา ภารกิจในด้านต่างๆ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้มีการปรับปรุงระบบการประเมินความพึงพอใจเพื่อให้ ครอบคลุมการประเมินการให้บริการในภารกิจทุกด้าน ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาได้ประเมิน ความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อบริการด้านต่างๆ โดยใช้แบบประเมินออนไลน์ที่พัฒนาขึ้น https://ceit.sut.ac.th/questionnaire/qn/

ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อบริการของศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่
1) การให้บริการของเจ้าหน้าที่
2) ขั้นตอนของการให้บริการ
3) ความตรงต่อเวลาในการให้บริการ และ
4) คุณภาพของการให้บริการ
จากจํานวนผู้ตอบแบบประเมินทั้งสิ้น 223 คน ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ เฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด

การให้บริการของเจ้าหน้าที่
ขั้นตอนของการให้บริการ
ความตรงต่อเวลาในการให้บริการ
คุณภาพของการให้บริการ

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565


ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาได้ให้ความสําคัญต่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนา การบริการ โดยดําเนินการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการเพื่อนําผลการประเมินมาปรับปรุง พัฒนา ภารกิจในด้านต่างๆ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้มีการปรับปรุงระบบการประเมินความพึงพอใจเพื่อให้ ครอบคลุมการประเมินการให้บริการในภารกิจทุกด้าน ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาได้ประเมิน ความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อบริการด้านต่างๆ โดยใช้แบบประเมินออนไลน์ที่พัฒนาขึ้น https://ceit.sut.ac.th/questionnaire/qn/

ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อบริการของศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่
1) ด้านกระบวนการและขั้นตอนการให้บริการ
2) ด้านผลงานและชิ้นงานของการให้บริการ
3) ด้านเจ้าหน้าที่ให้บริการ และ
4) ด้านความตรงต่อเวลาในการให้บริการ
จากจํานวนผู้ตอบแบบประเมินทั้งสิ้น 241 คน ผู้รับบริการมีความพึงพออยู่ในระดับมากที่สุดในทุกด้านและระดับความพึงพอใจในภาพรวมของการ ให้บริการผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการให้บริการอยู่ในระดับมากที่สุด 

ด้านกระบวนการและขั้นตอนการให้บริการ
ด้านผลงานและชิ้นงานของการให้บริการ
ด้านเจ้าหน้าที่ให้บริการ
ด้านความตรงต่อเวลาในการให้บริการ

ข้อมูลถึง 30 กันยายน 2565


Scroll to Top